วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

CLIL



CLIL วิธีสอนภาษาแบบบูรณาการภาษาและเนื้อหา

แมคโกรอาที่ (Mcgroarty. 1998) กล่าวถึงความเป็นมาของวิธีสอนภาษาบบบูรณาการภาษาและเนื้อหาว่า วิธีสอนภาษาแบบบูรณาการภาษาและเนื้อหามีพื้นฐานแนวคิดมาจากการศึกษาสองภาษา (bilingual education)เป็นกระบวนการจัดการศึกษาที่ใช้สองภาษาเป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน



อย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะได้เรียนหนึ่งหรือสองภาษาขึ้นอยู่กับลักษณะของโปรแกรม ซึ่งการศึกษาสองภาษามีหลายโปรแกรม บางโปรแกรมไม่ได้ตั้งจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เฉพาะสองภาษาเท่านั้น เช่น ในสหรัฐอเมริกา ในพื้นที่ที่คนส่วนมากใช้ภาษาอังกฤษ การเรียนภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรียนที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา ก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมสองภาษาเพราะความมุ่งหมายของโปรแกรมคือ ใช้ภาษาอังกฤษในการพัฒนาทักษะภาษาวิชาการ ซึ่งผู้เรียนพัฒนาภาษาวิชาการได้ยากกว่าภาษาเพื่อการสื่อสาร
ดังนั้นผู้สอนจึงต้องจัดเตรียมกิจกรรมเป็นอย่างดี ด้วยเหตุผลนี้เองจึงจำเป็นต้องพัฒนาทั้งภาษาที่หนึ่งคือ ภาษาของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเพิ่มขีดความสามารถทางภาษาของตนเองมากขึ้น ก็จะทำให้ขีดวามสามารถในการใช้ภาษาที่สองมากขึ้นเช่นกัน



English Version

Content and Language Integrated Learning


Content and Language Integrated Learning (CLIL) has become the umbrella term describing both learning another (content) subject such as physics or geography through the medium of a foreign language and learning a foreign language by studying a content-based subject. In ELT, forms of CLIL have previously been known as 'Content-based instruction', 'English across the curriculum' and 'Bilingual education'.

The principles behind Content and Language Integrated Learning include global statements such as 'all teachers are teachers of language' (The Bullock Report - A Language for Life, 1975) to the wide-ranging advantages of cross-curricular bilingual teaching in statements from the Content and Language Integrated Project (CLIP). The benefits of CLIL may be seen in terms of cultural awareness, internationalisation, language competence, preparation for both study and working life, and increased motivation.
While CLIL may be the best-fit methodology for language teaching and learning in a multilingual Europe, the literature suggests that there remains a dearth of CLIL-type materials, and a lack of teacher training programmes to prepare both language and subject teachers for CLIL teaching. The theory may be solid, but questions remain about how theory translates into classroom practice

ตัวอย่างการสอนตามรูปแบบ CLIL






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น