วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ABOUT ME



"ABOUT ME"


                           
My name is Darunee Sriyangnok.
My nickname is Emmy. I am 23 years old. I come from Sakhonnakorn Province. I am the fourth years student majoring in English in the Faculty of Education, Mahasarakham University. When I graduate I would like to be an English teacher.

..............................................................................................................

My activities ^0^









I always to meet and greet with friends at faculty.



I love teaching English.



I enjoy motivating language students and seeing them put their plans into action. I really like to share the ideas with each other.It is the good method to learn about their thinking. I always create the way to teach them and like to exchange the students's ideas after they finished class.I love it too much.

วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

CLIL



CLIL วิธีสอนภาษาแบบบูรณาการภาษาและเนื้อหา

แมคโกรอาที่ (Mcgroarty. 1998) กล่าวถึงความเป็นมาของวิธีสอนภาษาบบบูรณาการภาษาและเนื้อหาว่า วิธีสอนภาษาแบบบูรณาการภาษาและเนื้อหามีพื้นฐานแนวคิดมาจากการศึกษาสองภาษา (bilingual education)เป็นกระบวนการจัดการศึกษาที่ใช้สองภาษาเป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน



อย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะได้เรียนหนึ่งหรือสองภาษาขึ้นอยู่กับลักษณะของโปรแกรม ซึ่งการศึกษาสองภาษามีหลายโปรแกรม บางโปรแกรมไม่ได้ตั้งจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เฉพาะสองภาษาเท่านั้น เช่น ในสหรัฐอเมริกา ในพื้นที่ที่คนส่วนมากใช้ภาษาอังกฤษ การเรียนภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรียนที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา ก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมสองภาษาเพราะความมุ่งหมายของโปรแกรมคือ ใช้ภาษาอังกฤษในการพัฒนาทักษะภาษาวิชาการ ซึ่งผู้เรียนพัฒนาภาษาวิชาการได้ยากกว่าภาษาเพื่อการสื่อสาร
ดังนั้นผู้สอนจึงต้องจัดเตรียมกิจกรรมเป็นอย่างดี ด้วยเหตุผลนี้เองจึงจำเป็นต้องพัฒนาทั้งภาษาที่หนึ่งคือ ภาษาของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเพิ่มขีดความสามารถทางภาษาของตนเองมากขึ้น ก็จะทำให้ขีดวามสามารถในการใช้ภาษาที่สองมากขึ้นเช่นกัน



English Version

Content and Language Integrated Learning


Content and Language Integrated Learning (CLIL) has become the umbrella term describing both learning another (content) subject such as physics or geography through the medium of a foreign language and learning a foreign language by studying a content-based subject. In ELT, forms of CLIL have previously been known as 'Content-based instruction', 'English across the curriculum' and 'Bilingual education'.

The principles behind Content and Language Integrated Learning include global statements such as 'all teachers are teachers of language' (The Bullock Report - A Language for Life, 1975) to the wide-ranging advantages of cross-curricular bilingual teaching in statements from the Content and Language Integrated Project (CLIP). The benefits of CLIL may be seen in terms of cultural awareness, internationalisation, language competence, preparation for both study and working life, and increased motivation.
While CLIL may be the best-fit methodology for language teaching and learning in a multilingual Europe, the literature suggests that there remains a dearth of CLIL-type materials, and a lack of teacher training programmes to prepare both language and subject teachers for CLIL teaching. The theory may be solid, but questions remain about how theory translates into classroom practice

ตัวอย่างการสอนตามรูปแบบ CLIL






Research



                                                     

  
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เกม
Improving Pratomsuksa 4 Students’ Speaking Skill by Using Games


บทคัดย่อ

           ทักษะการพูดเป็นทักษะที่สำคัญมากทักษะหนึ่งในการเรียนรู้ภาษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนนำไปใช้ในการสื่อสาร เกมสามารถช่วยกระตุ้นผู้เรียนพูดได้อย่างคล่องแคล่วขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยให้ผู้เรียนลดความวิตกกังวลและเกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ภาษา โดยการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ (1) ศึกษาประสิทธิภาพการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกม (2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลความสามารถในการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกม (3) เปรียบเทียบความสามารถในการพูดก่อน-หลังการทำกิจกรรมพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกม (4) ศึกษาพฤติกรรมการเรียนระหว่างการใช้เกมแข่งขันที่ไม่เสริมแรงด้วยของรางวัลและการใช้เกมแข่งขันที่เสริมแรงด้วยของรางวัลของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2555โรงเรียนอนุบาลกันทรวิชัย อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลกันทรวิชัย จำนวน 41 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการพูดโดยใช้เกม จำนวน 4 แผน แบบทดสอบการพูดภาษาอังกฤษก่อนเรียน-หลังเรียน แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมที่เกิดจากการเสริมแรงด้วยของรางวัลและการไม่เสริมแรงด้วยของรางวัล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 
           ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ประสิทธิภาพการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีค่า 60.00/60.54 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ (2) ดัชนีประสิทธิผลความสามารถในการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีค่า 0.3213 หรือคิดเป็นร้อยละ 32.13 (3) ผลการเปรียบเทียบความสามารถในพูด ก่อน-หลังการทำกิจกรรมการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่าคะแนนสอบครั้งหลังสูงกว่าครั้งแรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) พฤติกรรมที่เกิดจากการเสริมแรงด้วยของรางวัลและไม่เสริมแรงด้วยของรางวัลในการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่าพฤติกรรมที่ผู้เรียนตอบสนองในการทำกิจกรรมที่มีการเสริมแรงด้วยของรางวัลทั้งหมด ร้อยละ 74.39 และพฤติกรรมที่ผู้เรียนตอบสนองในการทำกิจกรรมที่ไม่มีการเสริมแรงด้วยของรางวัลทั้งหมด ร้อยละ 23.17  
           ผลการศึกษาพบว่า กิจกรรมการพัฒนาทักษะการพูดโดยใช้เกม บรรลุจุดมุ่งหมายของการวิจัยโดยช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการและความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษที่เพิ่มขึ้น สามารถพูดสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ

                                       

                                                                                   ABSTRACT

Speaking is a very important skill for language learning focused on using English to communicate. Games can motivate the students to speak more fluently, reduce students’ anxiety and resulting positive attitude towards learning language also. This study aimed to (1) study the efficiency of developing speaking skill by using game, (2) study the effectiveness indexes of using games to improve speaking skill, (3) compare pre and post test of English speaking skill by using speaking developed activity by using games, (4) study students’ learning behavior by using competition game between reinforced and non-reinforced with the reward. The sample was Pratomsuksa 4/1 of 41 people by means of purposive sampling. The instruments used in this experiment were learning instruments (4 lesson plans to improve speaking skill by using games) and compilation data instruments (pre–post tests, Evaluation of reinforced and non-reinforced with the reward’s behavior). 
The results of this study reveal that (1) efficiency of developing speaking skill by using games of Pratomsuksa 4 students was lower than the criterion, (2) effectiveness index of using the games to improve speaking skill was 0.3213, or 32.13 %, (3) compare English speaking pre and post scores were significantly higher than pre-test scores of the student at the 0.05 level, (4) The students’ behavior that arising from reinforced and non-reinforced with the rewards reveals that reinforced with the rewards was 74.39 % and non-reinforced with the rewards was 23.17 %.
The results of improving speaking skill by using games has achieved goal, the students have a speaking development and can speak English effectively.

วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2556


   

English Camp !!


"Born this English camp and Volunteer develop camp"















































      The purpose is to offer many students at one time to learn about a chosen topic of the teachers. English Camp was aimed to improve their English language abilities in four skills of reading, writing, speaking and listening. The emphasis was placed upon guiding the campers towards improved pronunciation, vocabulary and grammar as well as giving them an opportunity to experience a different culture. Moreover, the English camp was to encourage their positive attitudes towards English language learning and let them perceive the value of English language development.